EP 21

EP 21 “องค์แชมป์”ปี 2554 พระสมเด็จ พิมพ์ฐานแซม แม่พิมพ์โดย หลวงวิจิตร นฤมล ยุคปลาย

1,500,000 บาท

ภายใน รอยแตกร้าวขององค์พระ มีการเกิดขึ้นของ Vaterite/ Aragonite / Calcite อย่างสวยงามและ ปกคลุมพื้นที่ผิวขององค์พระด้วยเช่นกัน

ภายในร่องขนาดลึก พบ Vaterite / Aragonite / Calcite เกิดขึ้นระยิบระยับ สะท้อนแสงไฟ

ความสวยงามของพื้นที่ภายในหลุม ที่มีการเกิดขึ้นของ Vaterite/ Aragonite / Calcite มีมิติที่หลากหลาย

เมื่อส่องด้วยกล้องกำลังขยายระดับสูง ยิ่งพบว่าผลึก Aragonite เกิดซ้อนทับอย่างสวยงาม

หินแร่ควอตช์มวลสารสีเทา และ ผงว่านสีส้ม โดนAragonite และ Calcite ปกคลุมอย่างสวยงาม

ทั้งพื้นที่ตื้นและ พื้นที่ลึก มีปริมาณของ Calcite มากน้อยต่างกันไปอย่างสวยงาม

พบผงว่าน มวลสาร ผงใบลานเผาโดน Calcite ปกคลุมจนหมด ทั้งยังพบ Calcite ลักษณะแหลมสามพิเศษ

ตะไบเงินโดน Calcite ปกคลุม แต่สามารถสะท้อนแสงได้ เพราะ Calcite มีความโปร่งใส

พบ ผงพุทธคุณทั้ง 5 ประการ ใต้ Calcite อย่างเด่นชัด

มวลสาร ผงแร่นพคุณ โดน Calcite ปกคลุมไปด้วยเช่นกัน

มวลสาร ผงแร่นพคุณ โดน Calcite ปกคลุมไปด้วยเช่นกัน

พบ Aragonite ลักษณะพิเศษ ยาวเป็นเส้นด้ายโค้ง อยู่บนผิวองค์พระ

ข้างๆทองคำ พบ Aragonite ยาวเป็นเส้นด้าย อย่างสวยงาม

พื้นที่ด้านหลัง มีการเปื้นดินและฝุ่นเล็กน้อย ตามร่องรอยต่างๆ และCalcite ปกคลุมทุกพื้นผิว

พบมวลสารกลุ่มอาหาร กล้วยดิบ ข้าวสุก โดน Calcite ปกคลุมชัดเจน

มวลสาร ผงแร่นพคุณ โดน Calcite ปกคลุมไปด้วยเช่นกัน

พื้นที่ด้านหลัง มีการเปื้นดินและฝุ่นเล็กน้อย ตามร่องรอยต่างๆ และCalcite ปกคลุมทุกพื้นผิว

ข้างรอบแตกร้าวพบ มวลสารเหล็กไหลดำเงา ที่โดน Calcite ปกคลุมบางส่วน

พบว่าในหลุมร่อง บางหลุม มี Calcite เกิดขึ้นอย่างหนาแน่น

เมื่อส่องด้วยกล้องกำลังขยายระดับสูง ยิ่งพบว่าผลึก Aragonite เกิดซ้อนทับอย่างสวยงาม

มองเห็นความสวยงามของผลึก Aragonite ระยิบระยับ เพราะพื้นที่ภายในหลุม จะไม่มีการเสียหายของผลึก Aragonite เมื่อโดนแสงไฟ

บางพื้นที่ ที่มีหลุม Calcite เกิดขึ้นทับซ้อนกันจนเต็มพื้นที่ อย่างสวยงาม

ตะไบเงินและตะไบทอง รวมทั้งมวลสารหินแร่ ควอตช์สีเขียว โดน Aragonite และ Calcite ปกคลุม

ความงดงามของ Calcite พบได้ทุกพื้นที่ผิวขององค์พระสมเด็จ

บางพื้นที่ พบเส้นด้าย โดนปกคลุม ด้วย Calcite ไปแล้ว

Calcite ปกคลุมทั่วทุกพื้นผิว

ผงพุทธคุณทั้ง 5 โดนปกคลุมบางส่วนและ เราสามารถเห็นได้อย่างชัดเจน

พบผงทองคำ ที่บริเวณฐานขององค์พระสมเด็จ

พื้นที่ด้านหลัง พบทองคำ อย่างเด่นชัด

พื้นที่บริเวณนี้ พบAragonite และ Calcite ยาวเป็นเส้นปกคลุมและในร่องก็เช่นกัน เกิดขึ้นมากมาย

พบทองคำสวยงาม ข้างๆมีมวลสารสีส้มๆจางๆ โดน Calcite ปกคลุม

พื้นที่ด้านหลัง มีการเปื้นดินและฝุ่นเล็กน้อย ตามร่องรอยต่างๆ และCalcite ปกคลุมทุกพื้นผิว

พบมวลสารกลุ่มอาหาร กล้วยดิบ ข้าวสุก โดน Calcite ปกคลุมชัดเจน